วันจันทร์ที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2553

080 พีรวัส







Design Brief

background สังคมไทยในปัจจุบัน ปัญหาการล่วงทางเพศมีอยุ่ในทุกระดับทุกชนชั้น
ทุกที่ ไม่ว่าจะเป็นบนรถโดยสาร ในออฟฟิศ โรงเรียน เป็นปัญหาที่หาทางแก้ไขยาก
เนื่องจากไม่สามารถจับผู้กระทำผิดได้เพราะผู้ที่ถูกล่วงละเมิดรู้สึกอาย
รู้สึกว่าไม่อยากให้เป็นเรื่องใหญ่

1. โจทย์ทางการออกแบบ (Problem)
ผู้ที่ถูกล่วงละเมิดทางเพศไม่กล้าที่จะรักษาสิทธิของตน

2. วัตถุประสงค์ของการออกแบบ (Objective)
เพื่อปลุกฝังจิตสำนึกให้ผู้หญิงกล้าในการเรียกร้องสิทธิ

3. กลุ่มเป้าหมาย (Target Group)
ผู้หญิง อายุ 20-35

4. แนวความคิด (Concept)
“กล้าที่จะสวยก็ต้องกล้าที่จะเรียกร้องสิทธิของตน”

5. ส่วนสนับสนุนแนวความคิด (Concept Support)
“ฉันไม่ได้ทำให้ตัวเองสวยแร้วมาเจอเหตุการณ์เช่นนี้”

6. การตอบสนองที่คาดหวังจากกลุ่มเป้าหมาย (Desired Response)
กระตุ้นให้ผู้หญิงกล้าเรียกร้องสิทธิมากขึ้น

7. key message กล้าที่จะรักษาสิทธิของตน

ขั้นตอนการดำเนินงาน
1. หาข้อมูลเกี่ยวกับโครงการ โดยการสอบถามจากผู้อื่น และจากกระทู้ของผู้ที่ถูกละเมิดสิทธิในอินเตอร์เน็ต ว่าพวกเขารู้สึกอย่างไร
2. สรุปข้อมูลและเลือกประเด็นมาในโฆษณา
3. เลือกประเด็นจาก insight ที่ว่าผู้หญิงส่วนมากรักความสวยความงาม ต้องการให้ตนดูดี จึงเป็นที่มาของประเด็น “กล้าที่จะสวยก็ต้องกล้าที่จะรักษาสิทธิ์”
4. คิดสถานการณ์ในการโฆษณา
5. สร้างแบบร่าง
6. ดำเนินงานครั้งที่1
7. ปรับปรุงแก้ไขจากงานครั้งที่1
8. ผลงานเสร็จสมบูรณ์


สรุปการทำงาน
โดยรวมแล้วผมพอใจกับงานนี้ไม่มากเท่าที่ควร
เพราะประเด็นที่เลือกมามีความยากในการคิดvisual และการเปลี่ยนทัศนคติคนเป็นเรื่องที่ยาก
แต่พอเมื่อได้ปรับแก้ไขก็รู้สึกพอใจมากขึ้น

ผลที่ได้จากงานนี้
1 ได้คิดโฆษณาและการหาข้อมูลที่ insight
2 โครงการที่ดีมีประโยชน์ต่อสังคม
3 เรียนรู้เรื่องการจัดเวลาในการทำงาน
4 ได้รับแรงบันดาลใจใหม่ๆ
5 ฝึกทำงานในเวลาที่กำหนด

อุปสรรค
1 การสร้างvisual ของตนยังไม่ดีพอ
2 ทัศนคติคนเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อน
3 เวลา

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น